บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2
วันอังคารที่
17 มกราคม 2560
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เราได้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและการเลี้ยงดูของเด็กปฐมวัย
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เราได้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและการเลี้ยงดูของเด็กปฐมวัย
ธรรมชาติของเด็ก1.ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง2.มีความสามารถในขอบเขตจำกัดและแตกต่างกั3.ต้องการการเอาใจใส่ดูแลจากบุคคลรอบข้างเขา4.ชอบความเป็นอิสระ5.ชอบแสดงออกและต้องการการยอมรับจากครูและเพื่อนๆ6.ชอบเล่น7.มีช่วงของความสนใจสั้นๆ
เด็ก3-4ขวบจะมีระยะความสนใจเพียง 10-12นาทีและเด็กอายุ4-5ขวบจะมีระยะความสนใจเพียง
12-15นาที
ลักษณะการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
1.เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ในการพบหรือสัมผัสสิ่งของและลงมือกระทำด้วยตัวเอง
2.เรียนรู้จากประสบการณ์ทางอ้อม
เรียนรู้จากการบอกเล่าของบุคคลที่ใกล้ชิด หรือเรียนรู้จากหนังสือ การเลียนแบบบุคคล
ซึ่งการเรียนรู้วิธีนี้จะทำให้เด็กสร้างมโนภาพขึ้นได้ในสมองแทนการเห็นของจริง
การจำแนกลักษณะการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
- ลักษณะที่1
การเรียนรู้โดยสัญชาตญาณ
- ลักษณะที่2 เป็นการเรียนรู้จากการช่วยเหลือจากพ่อแม่
- ลักษณะที่3 การเรียนรู้จากโปรแกรมการพัฒนาพฤติกรรมอย่างมีระบบ
- ลักษณะที่2 เป็นการเรียนรู้จากการช่วยเหลือจากพ่อแม่
- ลักษณะที่3 การเรียนรู้จากโปรแกรมการพัฒนาพฤติกรรมอย่างมีระบบ
พัฒนาการของเด็กปฐมวัย
»ลักษณะของพัฒนาการ
-การเข้าใจวิถีชีวิตในวัยเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ6ปี
-พัฒนาการเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องกัน
-มีทิศทางที่แน่นอน
-พัฒนาดารเริ่มจากบนไปล่าง
จากแกนกลางลำตัวไปสู่ด้านข้าง
- อัตราพัฒนาการของเด็กแตกต่างกัน
-พัฒนาการจะมีความสัมพันธ์กัน
»ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
-บุคคลภายในครอบครัว
-บุคคลภายนอกครอบครัว
»ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
-บุคคลภายในครอบครัว
-บุคคลภายนอกครอบครัว
-เชื้อชาติ
-เพศ เพศหญิงจะโตเร็วกว่าเพศชาย
-การบาดเจ็บและโรคภัยไข้เจ็บ
-เพศ เพศหญิงจะโตเร็วกว่าเพศชาย
-การบาดเจ็บและโรคภัยไข้เจ็บ
1.ควรคำนึงถึงตัวเด็กเป็นสำคัญ
2.ควรมีทั้งกิจกรรมที่ให้เด็กทำเป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่
3.ควรมีความสมดุล
4.ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมควรเหมาะสมกับวัย
5.ควรเน้นให้มีสื่อของจริง
ประเมินผล
-อาจารย์ ได้อธิบายอย่างละอียดและทำให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น
-ตนเอง ได้ฟังอาจารย์และได้คุยกับเพื่อน
-เพื่อน ตั้งใจฟังอาจารย์ดีและได้คุย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น